Guideline for developing The vocational creativity and innovation ability of university teachers in Chongqing
Item
ชื่อเรือง
Guideline for developing The vocational creativity and innovation ability of university teachers in Chongqing
ชื่อเรื่องรอง
แนวทางการพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์อาชีพของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่งหลี่ ห่งเชว่
ผู้แต่ง
LI HONGQUE
หัวเรื่อง
Vocational creativity
Innovation ability
Educational Administration
รายละเอียดอื่นๆ
การวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพของ
อาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง มีวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ 1) เพื่อตรวจสอบระดับความสามารถ ด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง 2) ศึกษาปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อระดับความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง 3) เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกอบรมความสามารถด้านนวัตกรรมของอาจารย์มหาวิทยาลัย ในมณฑลฉงชิ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ด้าน คือ ระบบการเรียนรู้นวัตกรรม การรับรู้ด้านนวัตกรรม ทักษะด้านนวัตกรรม ผลสำเร็จของนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นอาจารย์มาจาก มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ทั้งหมด 10 แห่ง ประกอบด้วย แบบสอบถาม 397 คน และแบบสัมภาษณ์ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การทบทวนวรรณกรรม การสำรวจด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบประเมินผลเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ปัจจุบันของการสร้างสรรค์วิชาชีพและนวัตกรรมของอาจารย์
มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่งเทียบกับสถานการณ์ปัจจุบันของการศึกษาในพื้นที่พัฒนายังมีช่องว่างสำหรับการพัฒนาอีกมาก ทักษะด้านนวัตกรรมอยู่ในระดับสูงที่สุดใน 4 ด้าน รองลงมาคือผลสำเร็จของนวัตกรรม การรับรู้ด้านนวัตกรรม และระบบการเรียนรู้นวัตกรรม ทุกด้านอยู่ในระดับสูงหรือค่อนข้างสูง ซึ่งหมายความว่าแนวทางพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพ ของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่งมีความเป็นไปได้และสามารถปรับใช้ได้
คำสำคัญ : การสร้างสรรค์วิชาชีพ ความสามารถด้านนวัตกรรม
อาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง มีวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ 1) เพื่อตรวจสอบระดับความสามารถ ด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง 2) ศึกษาปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อระดับความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่ง 3) เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกอบรมความสามารถด้านนวัตกรรมของอาจารย์มหาวิทยาลัย ในมณฑลฉงชิ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ด้าน คือ ระบบการเรียนรู้นวัตกรรม การรับรู้ด้านนวัตกรรม ทักษะด้านนวัตกรรม ผลสำเร็จของนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นอาจารย์มาจาก มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน ทั้งหมด 10 แห่ง ประกอบด้วย แบบสอบถาม 397 คน และแบบสัมภาษณ์ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การทบทวนวรรณกรรม การสำรวจด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบประเมินผลเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ปัจจุบันของการสร้างสรรค์วิชาชีพและนวัตกรรมของอาจารย์
มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่งเทียบกับสถานการณ์ปัจจุบันของการศึกษาในพื้นที่พัฒนายังมีช่องว่างสำหรับการพัฒนาอีกมาก ทักษะด้านนวัตกรรมอยู่ในระดับสูงที่สุดใน 4 ด้าน รองลงมาคือผลสำเร็จของนวัตกรรม การรับรู้ด้านนวัตกรรม และระบบการเรียนรู้นวัตกรรม ทุกด้านอยู่ในระดับสูงหรือค่อนข้างสูง ซึ่งหมายความว่าแนวทางพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์วิชาชีพ ของอาจารย์มหาวิทยาลัยในมณฑลฉงชิ่งมีความเป็นไปได้และสามารถปรับใช้ได้
คำสำคัญ : การสร้างสรรค์วิชาชีพ ความสามารถด้านนวัตกรรม
บทคัดย่อ
The topic of this study is " Guideline for developing the vocational creativity and innovation ability of university teachers in Chongqing”. The objective are as follows: 1) In order to investigate the level of vocational creative and innovation ability of university teachers at Chongqing. 2) In order to examine the factors affecting the level vocational creative and innovation ability of university teachers at Chongqing. 3) In order to guideline for develop creative and innovation ability of university teachers at Chongqing. It includes four aspects: innovative learning system, innovation consciousness, innovative skills and innovative achievements. This study samples university teachers from ten different types of universities in Chongqing. Including 397 questionnaires and 30 interviews, the research tools used were literature analysis, questionnaire survey, structured interviews, and evaluation tables to statistically analyze the data and standard deviation. The research results show that there is still great space for improvement in the current situation of professional innovation and creativity among university teachers in Chongqing. Compare the education status in developed regions, innovation skills at the highest level in the four fields, followed by innovation achievements, innovation consciousness, and innovative learning systems. All projects are at a high or highest level, This means that the guidelines for improving the professional creativity and innovation ability of Chongqing university teachers are adaptable and feasible.
Keyword: Vocational creativity, Innovation ability
Keyword: Vocational creativity, Innovation ability
ผู้จัดพิมพ์/สำนักพิมพ์
Bansomdejchaopraya Rajabhat University. Office of Academic Resources and Information Technology
ผู้ร่วมสร้างรรค์ ผู้ร่วมงาน
Buranajit Kaewsrimol
Niran Sutheeniran
Pachara Dechhome
วันที่ ปีที่จัดพิมพ์
2023
วันที่ผลิต วันที่จัดทำ
2567-03-06
วันที่ปรับปรุงข้อมูล
2567-03-06
วันที่เผยแพร่
2567-03-06
ประเภท
thesis
รูปแบบ
application/pdf
แหล่งที่มา
TH 378.1 H769G 2023
ภาษา
eng
ลิขสิทธิ์
Bansomdejchaopraya Rajabhat University
Degree (name, level, descipline, grantor)
Degree of Doctor of Philosophy
Doctoral Degree
Educational Administration
Bansomdejchaopraya Rajabhat University
คอลเลกชั่น
LI HONGQUE, “Guideline for developing The vocational creativity and innovation ability of university teachers in Chongqing”, Bansomdejchaopraya Rajabhat University. Office of Academic Resources and Information Technology, 2023, คลังข้อมูลประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, accessed December 5, 2024, https://455744.minerockhongkong.tech/s/information/item/2880